บทบาทของบรรจุภัณฑ์ ในการสร้างแบรนด์เครื่องสำอาง
บทความนี้จะพาเราไปสำรวจความสัมพันธ์ระหว่างบรรจุภัณฑ์เครื่องสำอางกับการรับรู้แบรนด์ พร้อมเจาะลึกเคล็ดลับการออกแบบบรรจุภัณฑ์ให้โดนใจกลุ่มเป้าหมาย
บรรจุภัณฑ์ ในปัจจุบัน ได้มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์มีการแข่งขันทางด้านการค้าสูง กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์ ได้เข้ามามีบทบาทมากยิ่งขึ้น จากความตื่นตัวของผู้บริโภค ทางภาครัฐจึงต้องออกกฎหมายข้อบังคับ มาควบคุมบรรจุภัณฑ์ เพื่อป้องกันการทำผิดกฎหมายแบบไม่ได้ตั้งใจ
วันนี้ Printcafe เราได้นำข้อกฎหมายควบคุมที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์ที่ผู้ประกอบการทุกท่านควรรู้ไว้นั้นมีอะไรบ้างไปดูกันเลย
เพื่อให้ได้บริโภคสินค้าตามปริมาณที่กำหนด พ.ร.บ. ฉบับนี้จึงร่างขึ้นเพื่อคุ้มครองผู้บริโภค โดยขึ้นอยู่กับความร่วมมือของผู้ประกอบการ ในการดูแลเอาใจใส่ในการบรรจุสินค้าของตนเองให้ถูกต้องตามกฎหมาย
ใช้ระบบเมตริก แสดงปริมาณสินค้าตามมาตรา ช่วง วัด ตวง ควร และตัวเลขที่ใช้สามารถใช้ตัวเลขอารบิกหรือตัวเลขไทยก็ได้ ซึ่งขนาดของตัวเลขและตัวอักษรที่ใช้ต้องไม่เล็กกว่า 2 มิลลิเมตร
พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ.2522 สาระสำคัญ จะแบ่งเป็น 2 ส่วน คือ การขอขึ้นทะเบียนตำรับอาหาร และการขึ้นทะเบียนฉลากอาหาร
1. การขอขึ้นทะเบียนตำรับอาหาร กำหนดให้ ผู้ผลิตหรือผู้นำเข้าต้องนำอาหารควบคุมเฉพาะ มาขอขึ้นทะเบียนตำรับอาหาร เพื่อให้ได้รับใบสำคัญการขึ้นทะเบียนอาหาร
แล้วจึงจะสามารถผลิตหรือนำเข้าเพื่อจำหน่ายได้ หากฝ่าฝืนต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 2 ปีหรือปรับไม่เกิน 20,000 บาท หรือทั้งปรับทั้งจำ
2. การขอขึ้นทะเบียนฉลากอาหาร ควบคุมเฉพาะที่กำหนดคุณภาพ และที่กำหนดให้มีฉลากต้องขึ้นทะเบียนอาหารและขออนุญาตใช้ฉลาก เมื่อได้รับอนุญาตแล้วจึงทำการผลิตอาหารที่ต้องขออนุญาตใช้
พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 ได้บัญญัติให้องค์กรของรัฐมีอำนาจหน้าที่ในการควบคุมกำกับดูแล และประสานการปฏิบัติงานของส่วนราชการต่างๆ เพื่อให้ความคุ้มครองผู้บริโภค รวมทั้งเป็นหน่วยงานที่ให้ผู้บริโภคได้ใช้สิทธิ์ร้องเรียน
เพื่อขอให้ได้รับการพิจารณาและชดเชย ความเสียหายเมื่อถูกผู้ประกอบธุรกิจละเมิดสิทธิ์ของผู้บริโภคสิทธิ์พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522
ได้บัญญัติให้องค์กรของรัฐมีอำนาจหน้าที่ในการควบคุมกำกับดูแล และประสานการปฏิบัติงานของส่วนราชการต่างๆ เพื่อให้ความคุ้มครองผู้บริโภค รวมทั้งเป็นหน่วยงานที่ให้ผู้บริโภคได้ใช้สิทธิ์ร้องเรียน
เพื่อขอให้ได้รับการพิจารณาและชดเชย ความเสียหายเมื่อถูกผู้ประกอบธุรกิจละเมิดสิทธิ์ของผู้บริโภค
และมีคณะอนุกรรมการย่อยลงไปอีก เพื่อรับเรื่องร้องทุกข์พิจารณาความผิดที่เกิดขึ้น
ฉลากตามมาตรา 3 แห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ.2522 กำหนดให้ ข้อมูลบนบรรจุภัณฑ์ที่เกี่ยวกับสินค้า รวมถึงเอกสารหรือคู่มือสำหรับใช้ประกอบสินค้า
สินค้าควบคุมฉลากจากต่างประเทศที่นำเข้ามาขายในประเทศไทย ต้องระบุชื่อ พร้อมสถานที่ประกอบการของผู้ที่ได้รับใบอนุญาตให้นำเข้าสินค้านั้น
และต้องมีรายละเอียดเกี่ยวกับสินค้าตามประกาศที่คณะกรรมการว่าด้วยฉลากกำหนดไว้ในแต่ละประเภทของสินค้า โดยต้องทำฉลากเป็นข้อความภาษาไทยมีความหมายตรงกับข้อความในภาษาต่างประเทศ สินค้าที่กำหนดให้เป็นสินค้าควบคุมฉลาก มีดังนี้
กำหนดให้จัดตั้ง สำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม ขึ้นในกระทรวงอุตสาหกรรม หรือ “สมอ.” เป็นหน่วยงานระดับกรมสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม ทำหน้าที่กำหนดมาตรฐานผลิตอุตสาหกรรม (มอก.) การรับรองระบบคุณภาพ และรับรองความสามารถของห้องปฏิบัติการทดสอบและสอบเทียบ
จากกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบรรจุภัณฑ์นั้น เราจึงควรรู้และศึกษาให้แจ่มแจ้ง เพื่อเป็นการป้องกันการทำผิดกฎหมายแบบไม่ได้ตั้งใจ และนำไปพัฒนาผลิตภัณฑ์ของตนเองให้มีความน่าเชื่อถือ และก้าวทันกับคู่แข่งอยู่เสมอ